icon

งานพัฒนาท้องถิ่น : คณะนิติศาสตร์

    คณะนิติศาสตร์จึงได้เปิดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตขึ้น ในปีการศึกษา 2548 โดยในขณะนั้น สังกัดอยู่ในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อเป็นการตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประสงค์ จะเรียนในสาขาวิชานิติศาสตร์ และเป็นการมุ่งพัฒนาบุคลากรทั้งในหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนให้มีความรู้ทางด้านกฎหมาย โดยไม่ต้องเดินทางไปเรียนในส่วนกลาง และนำความรู้ไปใช้ในการทำงานในองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นแนวทางอีกทางหนึ่งที่ช่วยให้นโยบายการกระจายอำนาจ การปกครองส่วนท้องถิ่น ของชาติบรรลุเป้าหมาย เนื่องจากสาขาวิชานิติศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่เป็นวิชาชีพ มีองค์กรควบคุมวิชาชีพ คือ เนติบัณฑิตยสภา และสภาทนายความ ควบคุมมาตรฐานการจัด การศึกษานักศึกษาที่จบการศึกษาสาขาวิชานิติศาสตร์ จากสถาบันอุดมศึกษาทั้งของภาครัฐและเอกชนจะต้องได้รับการรับรอง มาตรฐานการศึกษาจากองค์กรดังกล่าว จึงจะสามารถไปประกอบอาชีพทนายความ อัยการ และผู้พิพากษาได้ มหาวิทยาลัยจึงได้ประเมินผลการดำเนินงานการจัดการศึกษา ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แล้วเห็นว่า ไม่สามารถบริหารจัดการศึกษาสาขาวิชานิติศาสตร์ให้ได้ตามมาตรฐาน การศึกษา ผ่านการตรวจรับรองมาตรฐานของเนติบัณฑิตยสภาและสภาทนายความได้ อันจะส่งผลเสียหายต่อนักศึกษาและมหาวิทยาลัย เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ดังกล่าวมหาวิทยาลัยจึงได้ยกฐานะ สาขาวิชานิติศาสตร์ขึ้นเป็นคณะนิติศาสตร์โดยอนุมัติของสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 5/2550 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2550 รวมระยะเวลาในการจัดการเรียนการสอนถึงปัจจุบัน รวม 9 ปี มีการผลิตบัณฑิตออกไปสู่สังคมเพื่อประกอบอาชีพทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดทั้งการประกอบธุรกิจส่วนตัว ทั้งนี้ ในระยะเวลาข้างต้น คณะนิติศาสตร์ได้มีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลา ของการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งมีการพัฒนาหลักสูตรในปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2555 ตามลำดับโดยผ่านการรับทราบของ สกอ. เป็นที่เรียบร้อย ปัจจุบันการดำเนินงานของคณะนิติศาสตร์ยังคงมีการพัฒนาในทุกๆด้าน เพื่อให้เกิดมาตรฐานทางการศึกษาแก่นักศึกษาและเพื่อตอบสนองต่อนโยบายแห่งรัฐในการส่งเสริม ให้บัณฑิตทำงานเป็นจึงมีการพัฒนาหลักสูตรนิติศาสตร์หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 ให้เพิ่มเติมรายวิชาสหกิจศึกษาอันเป็นไปตามแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เพื่อให้สอดคล้องต่ออัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยที่ว่า บัณฑิตย่อมฉลาดจัดการ

icon

ภาพข่าวกิจกรรม / โครงการพัฒนาท้องถิ่น

คณะ คณะนิติศาสตร์

โครงการ บริการวิชาการแก่สังคม การอบรมความรู้กฎหมายเบื้องต้นและแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุ...

ตำบลขุนซ่อง อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี มีลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบและภูเขาพื้นที่โดยทั่วไปเป็นป่าอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำเกษตรและเพาะปลูก โดยประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีรายได้จากการทำสวน ไร่ นา เช่น ทำสวนยางพารา ทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง ปาล์มน้ำมัน ไร่มันสัมปะหลัง...

โครงการบริการวิชาการ “โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนบ่อพลอยตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท...

คณะทำงานได้สำรวจพื้นที่ตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด และศึกษาความต้องการของชุมชนบ่อพลอย ชุมชนคาดหวังว่าภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด ๑๙ การท่องเที่ยวจะเป็นช่องทางในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจของชุมชน โดยชุมชนบ่อพลอยยังคงต้องการคงความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนไม่ให้กลืนกลายทางวัฒนธรรมไปกับ...

โครงการบริการวิชาการ “โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนบ่อพลอยตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท...

คณะทำงานได้สำรวจพื้นที่ตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด และศึกษาความต้องการของชุมชนบ่อพลอย ชุมชนคาดหวังว่าภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด ๑๙ การท่องเที่ยวจะเป็นช่องทางในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจของชุมชน โดยชุมชนบ่อพลอยยังคงต้องการคงความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนไม่ให้กลืนกลายทางวัฒนธรรมไปกับ...

โครงการ บริการวิชาการแก่สังคม กิจกรรมการอบรมความรู้กฎหมายและแนวทางการสร้างรายได้เสริมแก...

ในปัจจุบัน ประเทศไทยประสบปัญหาทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมซึ่งส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนและชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดจันทบุรี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับการจัดการรายได้ การรวมกลุ่มของชาวบ้าน ผู้สูงอายุ แม่และเด็ก ปัญหาความยากจนรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต รวมไปถึงการขาดความรู้ในการพัฒนาอาชีพเสริม กา...

โครงการบริการวิชาการ “โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนบ่อพลอยตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท...

คณะทำงานได้สำรวจพื้นที่ตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด และศึกษาความต้องการของชุมชนบ่อพลอย ชุมชนคาดหวังว่าภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด ๑๙ การท่องเที่ยวจะเป็นช่องทางในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจของชุมชน โดยชุมชนบ่อพลอยยังคงต้องการคงความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนไม่ให้กลืนกลายทางวัฒนธรรมไปกับ...

โครงการบริการวิชาการ “โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนบ่อพลอยตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท...

คณะทำงานได้สำรวจพื้นที่ตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด และศึกษาความต้องการของชุมชนบ่อพลอย ชุมชนคาดหวังว่าภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด ๑๙ การท่องเที่ยวจะเป็นช่องทางในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจของชุมชน โดยชุมชนบ่อพลอยยังคงต้องการคงความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนไม่ให้กลืนกลายทางวัฒนธรรมไปกับ...

โครงการบริการวิชาการ “โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนบ่อพลอยตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท...

คณะทำงานได้สำรวจพื้นที่ตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด และศึกษาความต้องการของชุมชนบ่อพลอย ชุมชนคาดหวังว่าภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด ๑๙ การท่องเที่ยวจะเป็นช่องทางในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจของชุมชน โดยชุมชนบ่อพลอยยังคงต้องการคงความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนไม่ให้กลืนกลายทางวัฒนธรรมไปกับ...

บริการวิชาการแก่สังคม กิจกรรมอบรมความรู้กฎหมายและแนวทางการสร้างรายได้เสริมแก่ชุมชน ตำบ...

ในปัจจุบัน ประเทศไทยประสบปัญหาทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมซึ่งส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วน และชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดจันทบุรี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับการจัดการรายได้ การรวมกลุ่มของชาวบ้านผู้สูงอายุ แม่และเด็ก ปัญหาความยากจนรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต รวมไปถึงการขาดความรู้ในการพัฒนาอาชีพเสริม กา...